Folder and Printer Sharing การแชร์โฟลเดอร์/เครื่องพิมพ์
by Teacher Phaitoon Yaemprasuan
The Atmosphere of My 2003 Computer Class at 4th Floor of Building1.
They were energetic and very nice schoolkids I have ever experienced.
They were energetic and very nice schoolkids I have ever experienced.
บรรยากาศห้องเรียนคอมพิวเตอร์ 2546 สมัยยังอยู่ชั้น 4 อาคาร 1
พวกเขาเป็นเด็กนักเรียนที่ขยันขันแข็ง ตั้งใจเรียน และเป็นเด็กดีมากที่สุดรุ่นหนึ่งเท่าที่ครูเคยเจอ
พวกเขาเป็นเด็กนักเรียนที่ขยันขันแข็ง ตั้งใจเรียน และเป็นเด็กดีมากที่สุดรุ่นหนึ่งเท่าที่ครูเคยเจอ
All
of us use Windows7 as the operating software, and our computers are
connected together within the workgroup of the LAN (local area network).
So we should gain the benefit of its sharing capability. Here we go!
ตอน
นี้พวกเราล้วนแล้วแต่ใช้ Windows7 เป็นซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการ
(ในห้องเรียน และที่บ้านด้วย)
และเครื่องของพวกเราก็เชื่อมต่อกันเป็นเวิร์กกรุ๊ปในระบบแลน
ดังนั้นเราก็น่าจะใช้ความสามารถในการแชร์ทรัพยากรระหว่างกันได้ ลองดูกัน
1. FOLDER SHARING
การแชร์โฟลเดอร์
Be sure we have to specify what folder that we want to share?
ต้องระบุโฟลเดอร์ที่ต้องการแชร์
การแชร์โฟลเดอร์
Be sure we have to specify what folder that we want to share?
ต้องระบุโฟลเดอร์ที่ต้องการแชร์
"BOOKS" is the folder of us to be shared.
โฟลเดอร์ "BOOKS" คือโฟลเดอร์ที่เราอยากแชร์
โฟลเดอร์ "BOOKS" คือโฟลเดอร์ที่เราอยากแชร์
Make a right clicking with the folder, the dialogue box appears. Select the "Sharing" tab and the "Advanced Sharing" button
คลิกขวาที่โฟลเดอร์ กรอบโต้ตอบจะปรากฏขึ้น เราก็เลือกแท็บ "Sharing" และปุ่ม
"Advanced Sharing"
คลิกขวาที่โฟลเดอร์ กรอบโต้ตอบจะปรากฏขึ้น เราก็เลือกแท็บ "Sharing" และปุ่ม
"Advanced Sharing"
Now the folder has never been shared yet (Not Shared)
ตอนนี้โฟลเดอร์นี้มีสถานภาพไม่ได้ถูกแชร์ไว้
ตอนนี้โฟลเดอร์นี้มีสถานภาพไม่ได้ถูกแชร์ไว้
Properties
window of the folder appears and we should select to share it with
others. Now we can see the maximum number of users to simultaneously
enter to the folder is 20. Then we can click on the "Permission" button.
จะ
ปรากฏหน้าต่างพรอพเพอร์ตีส์ (คุณสมบัติ) ของโฟลเดอร์นี้ขึ้นมา
และเราก็ต้องเลือกว่าจะแชร์กัน และจะเห็นว่า เพื่อนๆ
จะเชื่อมต่อเข้ามาใช้โฟลเดอร์ของเราพร้อมกันได้เต็มที่ 20 เครื่อง แค่นั้น ต่อมาก็เลือกคลิกปุ่ม "Permission"
Tick the check-box, and we can change the share name or ignore it.
ติ๊กเลือกว่าจะแชร์ จะเปลี่ยน/หรือไม่เปลี่ยนชื่อที่จะแชร์ก็ได้
After
clicking on the permission button, the Permissions window shows up, you
can add any user e.g. "student" and you can change the permission type
of the user.
หลังจากคลิกปุ่ม permission จะมีหน้าต่างโผล่มาให้เราปรับเปลี่ยนตามความต้องการ
We can add user/ specify his permission level.
เราสามารถเพิ่มยูสเซอร์ / ระบุระดับการอนุญาตใช้งานโฟลเดอร์ของเราแก่เขา
เราสามารถเพิ่มยูสเซอร์ / ระบุระดับการอนุญาตใช้งานโฟลเดอร์ของเราแก่เขา
Finally click on the "Apply" button, the folder now has been shared.
เมื่อเราคลิกปุ่ม "Apply" โฟลเดอร์ของเราก็ได้รับการแบ่งปันให้ใช้ร่วมกันได้ในเครือข่ายแล้ว
Sample Special
ตัวอย่างThis is from my computer (Its hostname is "ALPHA00".), when I click on the "Network" (at the left pane of Windows7 " computer explorer" ), some computer hostnames appears. Yes, I want to randomly select any hostname. If the target of mine is "KACHATUCH", well, I would make a double-click on it.
นี่ เป็นคอมพิวเตอร์ของครูที่ห้องพักครู (โฮสต์เนมว่า ALPHA00) เมื่อครูคลิกเลือก Network (อยู่ตรงแถบซ้ายของหน้าต่าง Computer explorer ของ Windows7 ก็จะปรากฏโฮสต์เนมต่างๆ ในเครือข่าย แน่นอนว่า ครูก็คงต้องสุ่มเลือกเข้าไปใช้เครื่องใดสักเครื่อง ที่ครูเล็งไว้ก็คือเครื่องที่มีโฮสต์เนมว่า Kachatuch
My Target Hostname is "KACHATUCH"
เครื่องที่ครูเล็งไว้คือ โฮสต์เนมที่ชื่อว่า Kachatuch
เครื่องที่ครูเล็งไว้คือ โฮสต์เนมที่ชื่อว่า Kachatuch
The
shared folders of the hostname will be appeared. Then we can do a
random selection and we can find any other subfolders that we can select
to use.
ตอน นี้ก็จะเห็นโฟลเดอร์ที่โฮสต์เนม Kachatuch เราก็คงต้องสุ่มเลือกโฟลเดอร์ แล้วเราก็จะเห็นโฟลเดอร์ย่อยๆ ที่เราสามารถจะเลือกเข้าไปใช้ได้
ตอน นี้ก็จะเห็นโฟลเดอร์ที่โฮสต์เนม Kachatuch เราก็คงต้องสุ่มเลือกโฟลเดอร์ แล้วเราก็จะเห็นโฟลเดอร์ย่อยๆ ที่เราสามารถจะเลือกเข้าไปใช้ได้
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น